วช. จับมือ ศสอ. วางกรอบการจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์และของเสียอันตรายชุมชน
ปัญหาขยะอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทยมีปริมาณเพิ่มขึ้นทุกปี จากรายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อมของกรมควบคุมมลพิษ คาดการณ์ว่าในปี 2563 ประเทศไทยมีปริมาณของเสียอันตรายจากชุมชนเกิดขึ้นประมาณ 656,651 ตัน (เพิ่มขึ้นจากปี 2562 ร้อยละ 1.6) โดยเป็นขยะอิเล็กทรอนิกส์ 428,113 ตัน (คิดเป็นร้อยละ 65 ของของเสียอันตรายทั้งหมด) แต่เนื่องด้วยการจัดการไม่มีระบบการจัดการที่เหมาะสมตั้งแต่บ้านเรือนจนถึงปลายทาง ส่งผลให้ปัญหาการจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของคนในสังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
จุลินทรีย์คึกคัก…นวัตกรรมชีวภัณฑ์เพื่อการเกษตรและอาหารปลอดภัย
ผลจากความพยายามอย่างต่อเนื่องตลอดหลายปีที่ผ่านมา ในการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการบำบัดสารอันตรายที่ตกค้างในพื้นที่การเกษตร และการฟื้นฟูพื้นที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ ของศาสตราจาร์ ดร. อลิสา วังใน และทีมวิจัยหน่วยปฏิบัติการด้านตัวเร่งชีวภาพและเทคโนโลยีชีวภาพสิ่งแวดล้อม
อาจารย์และนิสิต ภาคธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ชมการสาธิตการใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์
เมื่อวันที่ 22 กันยายน 2563 คณะอาจารย์และนิสิต ภาคธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 16 คน ซึ่งนำทีมโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สกลวรรณ ชาวไชย ได้เข้าชมการสาธิตการใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์
สฟอ. ร่วมกับ กฟผ. ผนึกกำลังภาครัฐ เอกชน สถาบันการศึกษา เปิดตัวโครงการ
เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2563 ณ โรงแรมแกรนด์ ริชมอนด์ สไตลิช คอนเวนชั่น นนทบุรี รศ.ดร.สุธา ขาวเธียร ผู้อำนวยการ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการจัดการสารและของเสียอันตราย (ศสอ.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เข้าร่วมงานเปิดตัวโครงการ
จุฬาฯ โดย ศสอ. จับมือกับ บริษัท อมิตา เทคโนโลยี
จุฬาฯ โดย ศสอ. จับมือกับ บริษัท อมิตา เทคโนโลยีภายใต้ MOU พัฒนาเครื่องต้นแบบระบบคายประจุไฟฟ้าและเครื่องแยกชิ้นส่วนเซลล์แบตเตอรี่ลิเทียมไอออน และการศึกษากระบวนการนำกลับโลหะมีค่า