จุลินทรีย์คึกคัก…นวัตกรรมชีวภัณฑ์เพื่อการเกษตรและอาหารปลอดภัย
ผลจากความพยายามอย่างต่อเนื่องตลอดหลายปีที่ผ่านมา ในการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการบำบัดสารอันตรายที่ตกค้างในพื้นที่การเกษตร และการฟื้นฟูพื้นที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ ของศาสตราจาร์ ดร. อลิสา วังใน และทีมวิจัยหน่วยปฏิบัติการด้านตัวเร่งชีวภาพและเทคโนโลยีชีวภาพสิ่งแวดล้อม
อาจารย์และนิสิต ภาคธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ชมการสาธิตการใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์
เมื่อวันที่ 22 กันยายน 2563 คณะอาจารย์และนิสิต ภาคธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 16 คน ซึ่งนำทีมโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สกลวรรณ ชาวไชย ได้เข้าชมการสาธิตการใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์
สฟอ. ร่วมกับ กฟผ. ผนึกกำลังภาครัฐ เอกชน สถาบันการศึกษา เปิดตัวโครงการ
เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2563 ณ โรงแรมแกรนด์ ริชมอนด์ สไตลิช คอนเวนชั่น นนทบุรี รศ.ดร.สุธา ขาวเธียร ผู้อำนวยการ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการจัดการสารและของเสียอันตราย (ศสอ.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เข้าร่วมงานเปิดตัวโครงการ
จุฬาฯ โดย ศสอ. จับมือกับ บริษัท อมิตา เทคโนโลยี
จุฬาฯ โดย ศสอ. จับมือกับ บริษัท อมิตา เทคโนโลยีภายใต้ MOU พัฒนาเครื่องต้นแบบระบบคายประจุไฟฟ้าและเครื่องแยกชิ้นส่วนเซลล์แบตเตอรี่ลิเทียมไอออน และการศึกษากระบวนการนำกลับโลหะมีค่า
‘จุฬาฯ’ เปิดผลวิจัยขยะอีอีซี เตือนรับมือ 20 ปี พุ่ง 80%
ขยะที่เกิดขึ้นในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี) ส่วนใหญ่ถูกจัดการโดยวิธีฝังกลบและถูกจัดการไม่ถูกต้อง จึงเป็นเรื่องเร่งด่วนที่ทุกฝ่ายต้องวางแผนรับมือเพื่อให้ขยะทั้งหมดเข้าสู่ระบบการกำจัดที่ถูกต้อง ป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมระยะยาว
โครงการมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพสิ่งแวดล้อมและสารอันตราย สาขาการติดตามและประเมินผลสิ่งแวดล้อม
ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการจัดการสารฯ